วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ติดตั้ง Gatekeeper เพื่อใช้งานกับ openmcu ที่ติดตั้งบน Ubuntu

Gatekeeper คืออะไร

ตัวควบคุมสำหรับการสื่อสารทางเสียง และวิดิทัศน์ที่ติดตั้ง ไว้บนเครือข่ายไอพี Gagtekeeper สร้างขึ้นมาเพื่อการใช้งาน ในเครือข่ายมัลติมีเดียขนาดใหญ่ เพื่อใช้ในการเปิดการทำงานของ API สำหรับการนำไปใช้ ในแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นมา Gatekeeper ยังเพิ่มความสามารถการทำงานด้านต่างๆ ดังนี้

การดูแลจัดการเป็นโซนของ H.323
การจัดสิทธิการใช้งานของผู้ใช้, ให้สิทธิในการโทร และการจัดการรายชื่อผู้ใช้งาน
การจัดการเชื่อมต่อการโทรภายในโซน และระหว่างโซน
การจัดการทางด้านแบนด์วิธและเซสชั่น ที่ถูกเปิดใช้งาน ในโซ นและระหว่างโซน

การค้นหาที่อยู่และการแปลค่าระหว่าง E.164 และ IP

ติดตั้ง Gatekeeper เพื่อใช้งานกับ openmcu ที่ติดตั้งบน Ubuntu

หลังจากติดตั้ง openmcu บน ubuntu  เรียบร้อยแล้ว ให้ติดตั้ง gnugk

# sudo apt-get install -y gnugk





nano /etc/gatekeeper.ini

       [Gatekeeper::Main]
        FourtyTwo=42
        Name=GNU_Gk
        ;EndpointSuffix=_gnugk
        Home=127.0.0.1
        StatusTraceLevel=2
        UseBroadcastListener=0
        TimestampFormat=ISO8601
        EndpointSignalPort=1721
        EncryptAllPasswords=0
        UseMulticastListener=0
        StatusPort=7000
        
        SignalCallId=1
        
        [GkStatus::Auth]
        rule=explicit
        192.168.2.106=allow
        Shutdown=allow
        
        [RasSrv::PermanentEndpoints]
        127.0.0.1:1720=mcu;02 

        [RasSrv::GWPrefixes]
        mcu=02

        [RasSrv::RRQFeatures]
        AcceptEndpointIdentifier=1
        AcceptGatewayPrefixes=1
        OverwriteEPOnSameAddress=1
        IRQPollCount=0

        [RasSrv::ARQFeatures]
        CallUnregisteredEndpoints=0
        ArjReasonRouteCallToGatekeeper=0

        [RoutedMode]
        GKRouted=1
        H245Routed=1
        CallSignalPort=1721
        AcceptNeighborCalls=1
        AcceptUnregisteredCalls=1
        RemoveH245AddressOnTunneling=0
        RemoveCallOnDRQ=1
        DropCallsByReleaseComplete=1
        SendReleaseCompleteOnDRQ=1
        SupportNATedEndpoints=1
        TranslateFacility=1

        [Proxy]
        Enable=1
        ProxyForNAT=1
        RTPPortRange=1024-65535

        [RoutingPolicy]
        00=explicit,internal
        02=internal,explicit
        Default=explicit,internal,numberanalysis

        [CallTable]
        GenerateNBCDR=0
        GenerateUCCDR=1

        [Gatekeeper::Auth]
        FileIPAuth=optional;RRQ
        SQLPasswordAuth=required;RRQ
        SQLAuth=required;ARQ,Setup

        [Gatekeeper::Acct]
        SQLAcct=required;start,update,stop

ติดตั้งระบบประชุมทางไกล mcuWeb

ติดตั้งระบบประชุมทางไกล mcuWeb

ติดตั้งระบบประชุมทางไกล Openmcu

ติดตั้งระบบประชุมทางไกล Openmcu

ความแตกต่างระหว่าง Session Initiation Protocol (SIP) กับ H.323

SIP คืออะไร

        Session Initiation Protocol (SIP) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของ Internet Engineering Task Force (IETF) สำหรับการเริ่มต้น user session ปฏิสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับส่วนประกอบมัลติมีเดีย เช่น วิดีโอ เสียง แช๊ต เกมส์ และ virtual reality

SIP เหมือนกับ HTTP หรือ SMTP คือทำงานใน Application layer ของแบบจำลองการสื่อสาร Open Systems Interconnection (OSI) โดย Application layer เป็นระดับการตอบสนองสำหรับการทำให้มั่นใจว่าการสื่อสารเป็นไปได้ SIP สามารถก่อตั้ง multimedia session หรือการเรียก Internet telephony และปรับปรุงหรือยุติ รวมทั้งโปรโตคอลนี้สามารถเชิญผู้เข้าร่วมเป็น unicast หรือ multicast session ที่ไม่จำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับการเริ่มต้น เนื่องจาก SIP สนับสนุนการจับคู่ชื่อและบริการ redirection สิ่งนี้ทำให้เป็นไปได้สำหรับผู้ใช้ในการเริ่มต้นและรับการสื่องสารและบริการจากทุกสถานที่ และสำหรับเครือข่ายในการระบุผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นผู้ใด

SIP เป็นโปรโตคอลตอบสนองคำขอ เกี่ยวข้องกับคำขอจากลูกข่ายและตอบสนองจากแม่ข่าย ผู้เข้าร่วมได้รับการระบุโดย SIP URL คำขอสามารถได้รับการส่งผ่านโปรโตคอลส่งผ่าน เช่น UDP, SCTP หรือ TCP โดย SIP ตัดสินให้สิ้นสุดระบบที่ใช้กับ session ตัวกลางสื่อสารและพารามิเตอร์ตัวกลาง และเรียกผู้เข้าร่วมที่ต้องการให้เข้าสู่การสื่อสาร เมื่อสิ่งเหล่านี้ได้รับการประกันแล้ว SIP ก่อตั้งพารามิเตอร์ทั้งหมดที่จุดปลายของการสื่อสาร และควบคุมการส่งผ่านและยุติ

Session Initiation Protocol ได้รับการระบุใน IETF Request for Comments [RFC] 2543


H.323 คืออะไร

           H.323 เป็นมาตรฐานที่อนุมัติโดย International Telecommunication Union (ITU) ในปี 1996 เพื่อส่งเสริมขีดความสามารถนารส่งผ่าน video conference ข้ามเครือข่าย IP เริ่มแรก H.323 ได้รับการส่งเสริมวิธีการให้ความสอดคล้องกันของเสียง วิดีโอ และการส่งผ่านแพคเกตข้อมูลในเหตุการณ์นั้น ที่เครือข่ายท้องถิ่น (local area network หรือ LAN) ไม่ให้การประกันคุณภาพการบริการ ถึงแม้ว่า สิ่งนี้เป็นที่สงสัยในตอนแรก เมื่อผู้ผลิตปรับปรุง H.323 แต่เดี๋ยวนี้ได้รับการพิจารณาเป็นมาตรฐานสำหรับการทำงานภายในของเสียง วิดีโอ และการส่งผ่านข้อมูล รวมถึงโทรศัพท์อินเตอร์เน็ต และ voice-over-IP (VoIP) เพราะสิ่งนี้ควบคุมการเรียกและจัดการสำหรับทั้งการประชุมแบบ point-to-point และ multipoint รวมถึงการบริหาร gateway ของการจราจรสื่อ แถบความกว้าง (bandwidth) และการเข้าร่วมของผู้ใช้

             H.323 ซึ่งอธิบายการสื่อสารมัลติมีเดียเกิดขึ้นอย่างไรระหว่างจุดปลายคือ อุปกรณ์เครือและการบริการนั้น เป็นส่วนของกลุ่มขนาดใหญ่ของ ITU recommendation สำหรับการทำงานภายในมัลติมีเดียที่เรียกว่า H.3x ชุดล่าสุดของ recommendation เหล่านี้ H.248 เป็น recommendation เพื่อให้มาตรฐานเดียวสำหรับการควบคุมอุปกรณ์ gateway ในการส่งผ่านแพคเกตมัลติมีเดียเพื่อยอมให้เชื่อมต่อจาก LAN ถึง Public Switched Telephone Network (PSTN) รวมถึงจุดปลายมาตรฐานอื่น recommendation นี้ได้รับการประกาศในเดือนสิงหาคม 2000 โดย ITU-TU Study Group 16 และ Megaco Working Group of the Internet Engineering Task Force (IETF)


การเปรียบเทียบระหว่าง SIP และ H.323 (SIP and H.323 comparisons)

            ในปัจจุบันมีโปรโตคอลสำหรับ IP telephony คือ H.323 ซึ่งพัฒนาโดย ITU และ SIP ซึ่งพัฒนาโดย IETF ดังที่ได้กล่าวมาแล้วโปรโตคอล H.323 ได้ถูกพัฒนาขึ้นก่อนจึงทำให้มีการใช้งานโปรโตคอลนี้มากกว่าSIP ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นในภายหลัง แต่อย่างไรก็ตามโปรโตคอลทั้งสองก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ในที่นี้จะพิจารณาในแง่ของความซับซ้อน (complexity) ความสามารถในการขยายขนาดของเครือข่าย (scalibility) ความสามารถในการเพิ่มเติมคุณลักษณะของโพรโทคอล (extensibility) ฟังก์ชันและการบริการ (functionality and services) คุณภาพการให้บริการ (QoS) และการทำงานร่วมกัน (interoperability)

การเปรียบเทียบระหว่าง H.323 และ SIP ในแง่ต่างๆ สามารถสรุปได้จากการเปรียบเทียบในข้างต้นจะเห็นว่า SIP สามารถให้บริการได้คล้ายกับ H.323 แต่มีความซับซ้อนน้อยกว่า ความสามารถในการเพิ่มเติมคุณลักษณะของโปรโตคอล (extensibility) มากกว่า และสามารถรองรับขนาดของเครือข่ายได้ใหญ่กว่า (scalibility) เมื่อพิจารณาถึงการพัฒนาของทั้งสองโปรโตคอล การพัฒนาจะเป็นในลักษณะที่ เรียนรู้ซึ่งกันและกัน เช่น H.323 เวอร์ชัน 3 จะมีความใกล้เคียงกับ SIP จึงอาจจะเป็นไปได้ว่าโปรโตคอลทั้งสองอาจจะมีประสิทธิภาพในการทำงานใกล้เคียงกันแต่อย่างไรก็ตาม H.323 เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นก่อน ดังนั้นในปัจจุบันจึงมีการใช้งาน H.323 มากกว่า ในขณะที่ SIP เป็น โปรโตคอลใหม่จึงยังมีการใช้งานน้อยกว่า สำหรับ H.323 มีข้อได้เปรียบคือ ITU-T ซึ่งเป็นผู้พัฒนา H.323 เป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่างๆ ในระดับล่าง ลงไปถึงในชั้นกายภาพ (physical layer) ในขณะที่ IETF ซึ่งเป็นผู้พัฒนา SIP จะเกี่ยวข้องเฉพาะในชั้นเครือข่าย (network layer) ขึ้นไป H.323 จึงอาจจะมีความเข้ากันได้หรือประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกับเครือข่ายได้ดีกว่า SIPส่วนข้อเสียของ H.323 คือ H.323 ค่อนข้างจะอ้างอิงไปทางแบบจำลอง circuit-switch จึงทำให้มีราคาสูงและยุ่งยากในการใช้งานจริง ในขณะที่ SIP สามารถใช้งานได้ง่ายและมีราคาถูกกว่า


ติดตั้ง BigBlueButton on Ubuntu

สำหรับท่านที่ต้องการทำระบบประชุมทางไกล ผ่านอินเตอร์เน็ต BigBlueButton

ขั้นแรกท่านต้องทำการติดตั้ง ubuntu 10.04 ให้เรียบร้อย และทำการตรวจสอบ LANG=en_US.UTF-8 โดยใช้คำสั่งว่า

# cat /etc/defaulf/locale

ผลการตรวจสอบถ้าไม่ได้ LANG=en_US.UTF-8 ให้ทำการติดตั้ง

# sudo apt-get install langguage-pack-en
# sudo update-local LANG=en_US.UTF-8

ตรวจสอบ version ของ ubuntu

#  uname -m
i696

ตรวจสอบ version ของ ruby

# ruby -v



ขั้นตอนการติดตั้ง BigBlueButton


# wget http://ubuntu.bigbluebutton.org/bigbluebutton.asc -O- | sudo apt-key add -

echo "deb http://ubuntu.bigbluebutton.org/lucid_dev_081/ bigbluebutton-lucid main" | sudo tee /etc/apt/sources.list.d/bigbluebutton.list

ทำการตรวจสอบว่าที่เรา add ลงไป

# $ grep "lucid multiverse" /etc/apt/sources.list


ก่อนที่จะดำเนินการต่อไป อัพเกรดเพื่อให้แน่ใจว่าทุกแพคเกจในปัจจุบันบนเซิร์ฟเวอร์ของคุณ

# sudo apt-get update
# sudo apt-get dist-upgrade


การติดตั้ง LibreOffice

# wget http://bigbluebutton.googlecode.com/files/openoffice.org_1.0.4_all.deb
# sudo dpkg -i openoffice.org_1.0.4_all.deb


การติดตั้ง pacakges สำหรับ OpenOffice


# sudo apt-get install python-software-properties

# sudo apt-add-repository ppa:libreoffice/libreoffice-4-0
# sudo apt-get update

# sudo apt-get install libreoffice-common
# sudo apt-get install libreoffice